Last updated: 5 ก.พ. 2566 | 1142 จำนวนผู้เข้าชม |
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
Update เทคนิคดูแลหลุมสิวด้วย Rejuran และ เกล็ดเลือดเข้มข้น PRP/PRF มีเทคนิคอย่างไร? เทคนิคไหนได้ผลดีกว่า ? https://youtu.be/-7igT4pchnc
1.เกล็ดเลือดเข้มข้น Platelet-rich plasma (PRP), Platelet-Rich Fibrin (PRF)**
• ความเข้าใจผิดที่สำคัญคือเกล็ดเลือดเข้มข้นไม่ใช่ Stem Cell นะครับ *ดังนั้นต้องดูดีดีว่าการรักษาที่บอกว่าใช้สเต็มเซลล์ในการรักษาหลุมสิวจากการเจาะเลือดแล้วไปปั่นโดยไม่มีการฉีดสารกระตุ้นและกระบวนการทางห้องปฏิบัติการชั้นสูง น่าจะไม่ใช่สเต็มเซลนะครับเป็นเพียงเกล็ดเลือดเข้มข้นนั่นเอง โดยมีประโยชน์หลักคือ Growth factors เช่น platelet-derived growth factor (PDGF), transforming growth factor β (TGF-β), vascular endothelial growth factor (VEGF), epidermal growth factor (EGF), insulin-like growth factor (IGF) และ fibroblast growth factor (FGF) เป็นต้น
• ประโยชน์หลักของการใช้เกล็ดเลือดเข้มข้นในการดูแลหลุมสิว คือโกรธแฟคเตอร์ Growth factor ที่ช่วยกระตุ้นการทำงานของเซลล์ Fibroblast และช่วยลดการอักเสบจากการทำหัตถการเช่นเลเซอร์ การตัดพังผืด
• เทคนิคของหมอจะใช้ PRP ในการรักษาควบคู่กับวิธีอื่นเพื่อผลการรักษาที่ดียิ่งขึ้น Synergistic effect เช่นใช้ควบคู่กับการผ่าตัดพังผืด Canula Subcision และ Picosecond Laser หรือ InfiniRF Microneedle
• งานวิจัยโดย ผศ. นพ. ศุภะรุจ (หมอรุจ), รศ. นพ. เทอดพงศ์และทีม โดยการฉีด L-PRF ในการรักษาหลุมสิวพบว่าช่วยให้หลุมสิวเรียบขึ้นได้ *EADV 2020 โดยในทางปฏิบัติหมอมักจะไม่ฉีด PRP อย่างเดียวในการรักษาหลุมสิวเนื่องจากได้ผลในระดับหนึ่งแต่เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ควบคู่กับวิธีอื่นแล้วจะได้ผลดีกว่ามากครับ
ซึ่งมีการใช้ในการรักษาหลุมสิวหลายเทคนิคเช่น
• การใช้ร่วมกับเลเซอร์กรอผิว Fractional Ablative Laser, Microneedling หรือการฉีด
• การใช้ร่วมกับการตัดพังผืด Subcision: combined subcision and autologous platelet-rich plasma***
• การใช้รวมกันของsubcision, needling, and platelet-rich plasma****
• การใช้เทคนิคร่วมกันของการตัดพังผืดการฉีด PRP ร่วมกับ TCA CROSS: PSP technique including
Dot Peeling, Subcision and Intradermal
Injection of PRP€
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
รายละเอียดหมอเคยรีวิวไว้ครับ https://bit.ly/3PS2gXq
2. PolyNucleotides: Highly Purified Technology Polynucleotides (PN-HPT) เช่น Rejuran Healer
โดยช่วยในลักษณะ bio‐stimulatory booster ช่วยเพิ่มความชุมชื่นให้ผิว, ช่วยให้เซลล์ผิว dermal fibroblast สร้างเส้นใหญ่คอลลาเจน อีลาสตินและ Glycoaminoglycan matrix ใหม่
•หมอจะแนะนำ โดยเฉพาะหลุมสิวที่เป็นมาก Severe atrophic acne scar หรือไม่ตอบสนองต่อการรักษาก่อนหน้า เช่น ทำเลเซอร์มาหลายครั้งผลการรักษาเริ่มไม่ค่อยตอบสนองครับ
*แนะนำดูแลร่วมกับเทคนิครักษาหลุมสิวอื่น เช่น ตัดพังผืด Subcision, Picosecond Laser, Infini RF Microneedle เพื่อผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้นครับ
*เป็น Skin Booster (Polynucleotide PN) ช่วยกระตุ้นเซลล์Fibroblast ครับแบ่งตัว ช่วยเพิ่มความหนาของชั้นผิว ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นของผิว
*โดยมีกลไกลผ่าน Biological A2A Receptor และ Biomechanical Scaffolds
*ไม่ใช่ Filler สารเติมเต็มนะครับ ดังนั้นจะไม่ได้เป็นกอ้นครับ
*เทคนิคการใช้มีหลายแบบ เช่น MultiLayer Technique ประกอบด้วย Deep+Intradermal + ใต้หลุมสิว Injections, ร่วมกับการตัดพังผืด Subcision หรือ เลเซอร์ Radiofrequency เป็นต้นครับ
*ผ่านอย. ไทย เป็นเครื่องมือแพทย์เช่นเดียวกับ Filler ครับ
*ของปลอมเยอะมากครับ ต้องระวังมากๆ เลยนะครับ
การศึกษาเปรียบเทียบกันระหว่าง Polynucleotide เช่น Rejuran และ PRP ตอนนี้เท่าที่หมอค้นดูยังไม่พบนะครับ
•การรักษาเสริมนี้ส่วนมากจะมีการศึกษาวิจัยแต่มีจำนวนไม่มากครับ
•ดังนั้นการดูแลรักษาหลุมสิวจึงควรปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนการรักษาโดยต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายอย่าง เช่นชนิดของหลุมสิว, ความรุนแรงของพังผืด fibrosis, ความเข้มของสีผิว เป็นต้นเพื่อเลือกใช้แนวทางการรักษาให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงสุดครับ
References:
** Hesseler MJ, Shyam N. Platelet-rich plasma and its utility in the treatment of acne scars: A systematic review. J Am Acad Dermatol. 2019 Jun;80(6):1730-1745.
***Hassan AS et al. Treatment of atrophic acne scars using autologous platelet-rich plasma vs combined subcision and autologous platelet-rich plasma: A split-face comparative study. J Cosmet Dermatol. 2020 Feb;19(2):456-461.
****Bhargava S et al. Combination therapy using subcision, needling, and platelet-rich plasma in the management of grade 4 atrophic acne scars: A pilot study. J Cosmet Dermatol. 2019 Aug;18(4):1092-1097.
€Ibrahim ZA. Elgarhy LH. Evaluation of PSP technique including dot peeling, subcision and intradermal injection of PRP in the treatment of atrophic post-acne scars. Dermatol Ther. 2019 Sep;32(5):e13067.
¥Araco A, Araco F. Preliminary Prospective and Randomized Study of Highly Purified Polynucleotide vs Placebo in Treatment of Moderate to Severe Acne Scars. Aesthet Surg J. 2021 Jun 14;41(7):NP866-NP874.
Cr:หมอรุจชวนคุย
ตัวอย่างตลิปรีวิวการรักษา
https://youtu.be/DVITlWr4Zpg
https://youtu.be/Rd3mDxnMfwE
https://youtu.be/0q9pLr0MPwE
https://bit.ly/3PS2gXq
https://bit.ly/3PS2gXq
https://youtu.be/abmlEsEdwlA
https://youtu.be/abmlEsEdwlA
https://youtu.be/-7igT4pchnc
....
...
ปรึกษาคุณหมอหรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
Tel : 063-959-4392 / 063-896-2514
Line: http://line.me/ti/p/@Demedclinic
Line: @Demedclinic
Wechat/Whatsapp: Demedclinic
IG: https://www.instagram.com/drsuparuj
www.facebook.com/drsuparuj
Youtube: https://bit.ly/3p20YLE
Blockdit: https://bit.ly/3d8vYr1
https://vt.tiktok.com/ZSJ141Mdf/
https://mobile.twitter.com/drruj1
www.demedclinic.com / www.demedhaircenter.com